2.5 Pronoun คือ คำที่ใช้แทนคำนาม ซึ่งคำนามนั้นอาจเป็น ชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อมิให้มีการใช้คำนามซ้ำซาก
Pronoun มีหลายจำพวกด้วยกันคือ
(1) Personal pronoun (บุรุษสรรพนาม) ได้แก่ คำสรรพนามที่ใช้กล่าวแทนตัวบุคคล สัตว์
สิ่งของ แบ่งตามลักษณะหน้าที่ ที่เกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กันได้ 5 จำพวก คือ
Subject
pronoun
| Object
pronoun
| Possessive
pronoun
| Possessive
adjective
| Reflexive
pronoun
|
I
We
You
They
He
She
It
One1
Ones
| me
us
you
them
him
her
it
one
ones
| mine
ours
yours
theirs
his
hers
its
one’s
ones’
| my
our
your
their
his
her
its
one’s
ones’
| myself
ourselves
yourself
yourselves
themselves
himself
herself
itself
oneself2
-
|
- Subject pronoun คือ คำสรรพนามที่ทำหน้าที่ในตำแหน่งประธานของประโยคแบ่งเป็น 3 พวกคือ
1. สรรพนามบุรุษที่ 1 คือ ผู้พูด ได้แก่ I , We
2. สรรพนามบุรุษที่ 2 คือ ผู้ฟัง ได้แก่ You
3. สรรพนามบุรุษที่ 3 คือ ผู้ที่ถูกกล่าวถึง ได้แก่ They , He , She , It , One , Ones
“We” ยังใช้นำหน้าคำนามได้ (Predicate pronoun) แต่ต้องทำหน้าที่เป็นประธานเท่านั้น เช่น
We girls are good students.
We boys study English.
We guys play football.
Person | Singular | Plural | ||
1 | I | We | I am a student. We are students. | |
2 | You | You are a student. You are students. | ||
3 | He
She
It
| They | He is a student.
She is a student. They are students.
It is a student.
|
1 One แปลว่า คนเรา
2 Oneself แปลว่า ตนเอง เช่น by oneself หมายถึง ตามลำพัง
- Object pronoun คือ คำสรรพนามที่ใช้ในตำแหน่งกรรมของประโยค
Person | Singular | Plural | ||
1 | me | us | You love me. You love us. | |
2 | You | We like you. | ||
3 | him
her
it
| them | They saw him.
They saw her. We saw them.
They saw it.
|
นิยมใช้คำสรรพนามที่เป็นรูปกรรม หลัง Verb to be ในภาษาพูด แต่ในภาษาเขียนต้องใช้ Subject pronoun ดังตัวอย่าง
Speaking Language (ภาษาพูด) | Writing Language (ภาษาเขียน) | |
Who is that ? | It is . me. | It is I. |
That is me. | That is I. | |
Who is that ? | It is her. | It is she. |
This is her. | This is she. |
จากตัวอย่างดังกล่าว I , She เป็น Subject pronoun ที่ทำหน้าที่ Predicate pronoun ของ Verb to be ใช้ขยายประธานโดยอยู่ในภาคแสดงคือ Verb to be ซึ่งหมายถึงบุคคลเดียวกับประธาน
การใช้สรรพนามรูปประธาน หรือรูปกรรมหลัง Verb to be ให้สังเกตที่ความหมายหรือใจความของประโยคเป็นสำคัญกล่าวคือ
- ให้ใช้รูปประธาน ถ้าเป็นผู้กระทำในประโยคหรือข้อความที่ตามมา เช่น
It was I who ran away from home.
It is she who can play tennis very well.
That is he with the poodle.
- ใช้เป็นรูปกรรม ถ้าเป็นผู้ถูกกระทำโดยกริยาในประโยค หรือข้อความที่ตามมา เช่น
It is me whom (who) they blamed badly.
That is her who (who) the boy fell in love deeply.
“us” ใช้นำหน้าคำนามได้เช่นเดียวกับ “We” แต่จะต้องทำหน้าที่กรรมในประโยค เช่น
Janet smiles to us girl. (us หมายถึง girl)
Mother drove us boys to the beach. (us หมายถึง boys)
Object pronoun ใช้เป็นกรรมของบุรพบท (Objective of preprosition) เช่น
Everybody but me help the baby.
Everything goes wrong for me.
Go with him.
- Possessive pronoun คือ คำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ สามารถใช้ได้ทั้งในตำแหน่ง
ประธาน และกรรมของประโยค ซึ่งจะใช้เดี่ยว ๆ ไม่นำไปขยายคำนาม หรือขยายคำอื่น ๆ เช่น
Person | Singular | Plural | ||
1 | mine | ours | That book is mine. (It is white) | |
2 | Yours | Mine is white. | ||
3 | his
hers
its
| theirs | The child is hers. (He is naughty)
Hers is naughty.
The bags are yours. (They are beautiful.)
Yours are beautiful.
|
ถ้าใช้ในตำแหน่งประธานจะกล่าวขึ้นมาลอย ๆ ไม่ได้ จะใช้แทนสิ่งที่กล่าวถึงแล้ว และละไว้เป็นที่เข้าใจกันระหว่างผู้พูดกับผู้ฟังว่าสิ่งที่กล่าวถึงนั้นหมายถึงอะไร
- Possessive adjective คือ คำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ และทำหน้าที่ขยายคำนาม
เช่น
Person | Singular | Plural | ||
1 | my | our | That is my book. | |
2 | Yours | This is our room. | ||
3 | his
her
it
| their | Those are your pens.
His bag is new.
Their work made them happy.
|
- Reflexive pronoun คือ คำสรรพนามที่ทำหน้าที่เป็นกรรมในประโยค แต่กรรมนี้เป็นบุคคล
คนเดียวกันกับประธานของประโยคนั่นเอง ทั้งนี้เพื่อเป็นการเน้นให้เห็นว่าประธานเป็นผู้ถูกกระทำโดยกริยานั้น ๆ หรือประธานเป็นผู้กระทำกริยานั้น ๆ ด้วยตนเอง ซึ่งอาจจะทำเพื่อตนเองหรือเพื่อใครก็ได้
Person | Singular | Plural |
1 | myself | ourselves |
2 | yourself | yourselves |
3 | himself
herself
itself
| themselves |
Reflexive pronoun อาจวางไว้ในตำแหน่งกรรม (หลังกริยาหลัก) เน้นให้เห็นว่าประธานเป็นผู้กระทำกริยานั้น ๆ และประธานเป็นผู้ได้รับผลการกระทำนั้นนั่นเอง เช่น
Somsri cut herself.
He looks at himself in the mirror.
They blamed themselves seriously.
We love ourselves.
Reflexive pronoun อาจวางไว้หลังกรรม หรือ หลังประธาน เพื่อเน้นให้เห็นว่า ประธานเป็นผู้กระทำด้วยตนเอง แต่อาจจะทำเพื่อใครก็ได้ เช่น
I bought a car myself.
I myself bought a car.
You made a mistake yourself.
You yourself made a mistake.
Reflexive pronoun ใช้เป็น Indirect object ได้โดยใช้ในรูปประโยคกริยาจำพวก give (V. –g.) จะให้ความหมาย “ทำอะไร…ให้ หรือ เพื่อตัวเอง” หรือ อาจใช้รูปประโยคเดียวกันให้อยู่ในรูปของบุรพบทวลีที่มี for นำหน้า (for + Indirect object) เช่น
He bought himself a present. He bought a present for himself.
She found herself a job. She found a job for herself.
We built ourselves the house. We built the house for ourselves.
They cook themselves dinner. They cook dinner for themselves.
“By oneself” โดยลำพังคนเดียว (alone) เช่น
She lives by herself.
We work by ourselves.
I stayed at home by myself.
They do everything by themselves.
(2) Demonstrative pronoun คือ คำสรรพนามที่กล่าวระบุเจาะจง ได้แก่
|
This (นี , นี้)
These (เหล่านี้)
That (นั่น , นั้น)
Those (เหล่านั้น)
This , These ใช้แทน บุคคล หรือ สิ่งที่อยู่ใกล้ตัว
That , Those ใช้แทน บุคคล หรือ สิ่งที่อยู่ไกลออกไป และสามารถชี้ได้
This is a book. These are books.
This book is mine. These books are mine.
That is a boy. Those are boys.
That boy walks to school. Those boys walk to school.
We like this girl. We like these girls.
This girl is nice. These girls are nice.
(3) Relative pronoun คือ คำสรรพนามที่นำหน้าที่เชื่อมประโยค 2 ประโยคเข้าด้วยกัน ได้แก่
Who (ผู้ที่ , ผู้ซึ่ง) ใช้แทนบุคคลทั้งที่มีความหมายเป็นเอกพจน์ หรือ พหูพจน์ ทำหน้าที่เป็นประธาน เช่น
Wipa is a woman who is the most beautiful.
She is the girl who loves you.
I saw my teacher who taught me last year.
Whom (ผู้ซึ่ง , ที่ , ซึ่ง) ใช้แทนบุคล ทำหน้าที่เป็นกรรม เช่น
He is the old man whom we admired.
Mana is a good student whom everyone like.
You are a good teacher whom they love.
Whose (ของผู้ซึ่ง) เป็นคำสรรพนามที่ใช้แสดงความเป็นเจ้าของ เช่น
This is a man whose daughter is very beautiful.
Nittaya is a wife whose husband is afraid.
That is a boy whose father is a doctor.
We know the girl whose sister won the first prize.
Where (สถานที่ซึ่ง) ใช้กับสถานที่ เช่น
Sukhothai is the province where I was born.
We know the town where Yuphin has lived.
Bangkok is the city where rich people live as a heaven.
Which (ที่ , ซึ่ง , อัน) ใช้กับสิ่งของ , สัตว์ เป็นได้ทั้งประธาน และกรรม แทนได้ทั้งนามเอกพจน์และพหูพจน์ เช่น
A pen which is on the chair is mine.
Tom gave me a pencil which he bought yesterday.
The villain rode a horse which he had stolen.
What (ที่ , ซึ่ง , อัน) ใช้กับสิ่งของ หรือสัตว์ ทำหน้าที่เป็นประธาน หรือกรรม เช่น
I know what you said.
What happened is not true.
We don’t know what he told the girl.
They could understand what you meant.
When (เวลาที่) ใช้กับเวลา เช่น
We know the time when he will leave.
Nobody knows the time when one dies.
Tomorrow is the time when I will leave you.
That (ที่ , ซึ่ง , อัน) ใช้กับบุคคล , สัตว์ , สิ่งของ , สถานที่ ทั้งเอกพจน์ และพหูพจน์ เช่น
I have a present that you must love.
We live in the house that your father built.
They know the woman that you saw yesterday.
การใช้ Relative pronoun ให้สังเกตดังนี้
- ต้องมีความสอดคล้องกัน เช่นคำนามที่ใช้คำสรรพนามแทนนั้น เป็นเอกพจน์
หรือพหูพจน์
- That เป็น Relative pronoun ที่ใช้แทน What , When , Where , Who ,
Who , Which ได้
- Relative pronoun บางคำสามารถลดรูปได้ เช่น
that
She has lost the ring you gave her yesterday.
which
= She has lost the ring you gave her yesterday.
(4) Infinitive pronoun คือ สรรพนามที่ไม่ระบุแน่นอน ซึ่งอาจใช้แทนบุคคล สัตว์ สิ่งของ
และ สถานที่ มีความหมายทั้งที่เป็นเอกพจน์ และพหูพจน์ เช่น
some any nobody one many
someone anyone everyone ones all
somebody anybody everybody none
something anything everything others
somewhere anywhere everywhere few
There are trees. Some are cut.
I have much paper. Some is torn.
There are two books on the desk. One is mine.
Somebody sits in the sun.
Nobody is here.
There are ten people. Six of them speak English. Ones speak Thai.
(5) Distributive pronoun คือ สรรพนามที่ใช้แทนนาม เพื่อเน้นหรือย้ำการแบ่งแยก
การจำแนกออกเป็น สิ่งหนึ่ง คนหนึ่ง ตัวหนึ่ง ครั้งหนึ่ง หรือกลุ่มหนึ่ง ซึ่งถือว่ามีความหมายเป็นเอกพจน์ ได้แก่
each (แต่ละ) , either (คนใดคนหนึ่ง , สิ่งใดสิ่งหนึ่ง)
neither (ไม่ใช่, ไม่เหมือนกัน, ไม่ทั้ง…) , ever … (ทุก ๆ)
Every girl eats her food.
Every boy could do his homework.
Either of you has to go home.
Neither of the students tells a lie.
(6) Interrogative pronoun (ปฤจฉาสรรพนาม) คือ สรรพนามที่ใช้แทนคำนามสำหรับคำถาม
และต้องไม่ใช้นามตามหลัง ได้แก่ What , Who , Whose , Which , Whom ซึ่งมีรูปเหมือน Relative pronoun แต่ทำหน้าที่แตกต่างกัน กล่าวคือ
Who , Whom , Whose ใช้กับบุคคล เช่น
Who came here last night ?
Whom (Who) do you love ?
Whose is this book ?
Which ใช้ได้ทั้งบุคคล และสิ่งของ ใช้เกี่ยวกับการเลือกเอาอย่างใด
อย่างหนึ่ง เช่น
Which is your book ?
Which of the picture did you draw ?
Which will read ?
Which do you want ?
What ใช้กับสิ่งของ , สัตว์ , บุคคล (ชื่อ , อาชีพ) , อากาศ
What is the weather like ?
What does your father do ?
What do you want ?
What is his name ?
ถ้ามีนามตามหลัง ถือว่าทำหน้าที่เป็นคำคุณศัพท์ (Interrogative adjective) เช่น
What colour do you like ?
Which boy do you want to meet ?
Whose pen is that ?
What time is it now ?
What class are you in ?
Whose house is near yours ?http://www.sirada.in.th/pronouns/pretest_pronoun.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น